Skip to content
Mon. Oct 7th, 2024
วิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่
Chiang Mai Polytechnic College
หน้าแรก
เกี่ยวกับวิทยาลัย
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ข้อมูลพื้นฐาน 9 ประการ
1. ข้อมูลสถานศึกษา
2. ข้อมูลบุคลากร
3. ข้อมูลนักเรียน-นักศึกษา
4. ข้อมูลหลักสูตร
5. ข้อมูลแผนงานและงบประมาณ
6. ข้อมูลครุภัณฑ์
7. ข้อมูลอาคารและสถานที่
8. ข้อมูลสถานประกอบการ
9. ข้อมูลจังหวัดเชียงใหม่
แผนผังโครงสร้างองค์กร
หน่วยงานภายใน
ฝ่ายบริหารทรัพยากร
ฝ่ายวิชาการ
ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ศูนย์การศึกษาพิเศษอาชีวศึกษาภาคเหนือ 2
ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน วิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่
ข่าวสาร
ข่าวงานประชาสัมพันธ์
ข่าวงานทะเบียน
ข่าวประกวดราคา จัดซื้อ จัดจ้าง
หลักสูตรการเรียนการสอน
อบรมออนไลน์
เอกสาร
ผลงานทางวิชาการ
V-e-Sar
ติดต่อเรา
Gallery
Gallery2567
Gallery2566
Gallery2565
ข้อมูลสถานศึกษา
ปี พ.ศ. 2513 นายวิเวก ปางพุฒิพงศ์ ผู้อำนวยการกองส่งเสริมอาชีพ กรอาชีวศึกษา ได้ส่งตัวนายอมร สุริยะจันทร์ ให้ดำรงตำแหน่งครูใหญ่ พร้อมด้วย นายประเพชร บุญวรรณ นางขวัญตา กุลวนาโรจน์ นางสมพร คงสกุล และนางพรพิมล จิตยาภาตุ มาปฏิบัติราชการที่โรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ 32 จังหวัดเชียงใหม่ ในขณะนั้นโรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ 32 ยังไม่มีสถานที่ทำการเป็ของตนเองอย่างถาวร จึงได้ทำการเช่าตึกแถว 2 ชั้น อยู่ติดกับวัดผ้าขาว ถนนราชมรรคาและศาลาการเปรียญของวัดช่างแต้ม ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นที่ทำการเปิดสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 300 ชั่วโมง (5 เดือน) มีประชาชนทั่วไปสนใจสมัครเข้าเรียนเป็นจำนวนมาก ทางโรงเรียนไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนเหล่านั้นได้อย่างทั่วถึงเนื่องจากสถานการณ์ไม่เอื้ออำนวย
ปี พ.ศ. 2514 คณะผู้บริหารและครู – อาจารย์ ในตอนนั้นมีเพียงไม่กี่คน จึงได้เข้ากราบนมัสการท่านพระครูศรีปริยัติยานุรักษ์ เจ้าอาวาสวัดพันอ้น ถนนราชดำเนิน ซึ่งดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอเมืองเชียงใหม่ในตอนนั้น เพื่อขอความอนุเคราะห์ใช้อาคารเรียนพระปริยัติธรรมใต้ถุนกุฏิ และศาลาการเปรียญของวัดพันอ้น เป็นสถานที่ทำการของโรงเรียน เนื่องจากมีบริเวณกว้างขวางกว่าที่เดิม คงจะตอบสนองความต้องการของประชาชนที่สนใจสมัครเข้าเรียนวิชาชีพได้อย่างทั่วถึงในระดับหนึ่ง ซึ่งท่านเจ้าอาวาสวัดพันอ้นก็ได้เล็งเห็นความสำคัญทางการอาชีพเป็นอย่างมาก จึงได้การสนับสนุนและอนุญาตให้ใช้สถานที่ของวัดพันอ้น เป็นสถานที่ทำการของโรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ 32 เชียงใหม่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2514 เป็นต้นมา
ปี พ.ศ. 2515 การปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการใหม่ โรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ทั่วประเทศได้ถูกโอนจากกองส่งเสริมอาชีพ กรมอาชีวศึกษา ได้สังกัดกองการศึกษาผู้ใหญ่กรมสามัญศึกษา ซึ่งปัจจุบันกองการศึกษาผู้ใหญ่ ได้ยกฐานะขึ้นเป็นกรมการศึกษานอกโรงเรียน แต่โรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ 32 เชียงใหม่ และโรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ตั้งอยู่ในจังหวัดใหญ่ ๆ อีกไม่กี่โรงเท่านั้นที่กรมอาชีวศึกษาได้ขอสงวนเอาไว้สังกัดกรมอาชีวศึกษาตามเดิม ต่อมาได้ประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ 32 เชียงใหม่ ก็เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนสารพัดช่างเชียงใหม่ มีประชาชนสนใจสมัครเข้าเรียนวิชาชีพเพิ่มมากขึ้นตามลำดับ แต่ทางโรงเรียนก็ไม่สามารถสนองตอบความต้องการของประชาชนได้อีกเช่นเคย
ปี พ.ศ. 2517 โรงเรียนสารพัดช่างเชียงใหม่ โดยการนำของว่าที่ร้อยตรี ชิตวีร์ บุญนาค
และนายสุทิน พงษ์อำไพ ได้ปรึกษาหารือกับท่านเจ้าอาวาสวัดพันอ้น เพื่อจัดหาที่ดินที่จะใช้เป็นที่ทำการโรงเรียนอย่างถาวร โดยได้ติดต่อกับทางจังหวัดเชียงใหม่ เทศบาลนครเชียงใหม่ และหน่วยงานอื่น ๆ อีกหลายแห่ง ตลอดจนนักสังคมสงเคราะห์หลายท่าน จนกระทั่งได้ทราบว่ามีที่ดินแห่งหนึ่งอยู่ติดกับถนนห้วยแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 54 ตารางวา ซึ่งเป็นที่ธรณีสงฆ์วัดสีสุก (ร้าง) ขณะนั้นเป็นที่ทำการของมูลนิธิเด็กปัญญาอ่อนภาคเหนือ ซึ่งมีนายแพทย์มนู แมนมนตรี เป็นประธานมูลนิธิฯ และได้ตกลงและยินยอมที่จะย้ายที่ทำการของมูลนิธิฯ ออกไปยังสถานที่แห่งใหม่ และให้ทางโรงเรียนสารพัดช่างเชียงใหม่โดยกรมอาชีวศึกษาขอเช่าที่ดินฝืนนี้ ต่อกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใช้เป็นที่ทำการถาวรของโรงเรียนต่อไป
ปี พ.ศ. 2518 – 2521 กรมอาชีวศึกษาได้จัดสรรงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารโรงฝึกงานชั้นเดียว จำนวน 1 หลัง บ้านพักครู 2 ชั้น จำนวน 4 หลัง บ้านพักอาจารย์ใหญ่ 2 ชั้น จำนวน 1 หลัง อาคารเรียนชั่วคราวชั้นเดียว จำนวน 1 หลัง ห้องสุขาชาย จำนวน 1 หลัง ห้องสุขาหญิง จำนวน 1 หลัง และได้รับบริจาคอาคารธุรการชั้นเดียว จากนายทองทรายบุรี จำนวน 1 หลัง พร้อมทั้งได้ดำเนินการจัดสร้างเสาธงด้วยเงินบำรุงการศึกษาของโรงเรียน
ปี พ.ศ. 2521 เมื่อก่อสร้างอาคารต่าง ๆ ดังกล่าวเสร็จสิ้นแล้วนั้น จึงได้ย้ายที่ทำการของโรงเรียนจากบริเวรวัดพันอ้น ไปยังที่ทำการแห่งใหม่ ณ เลขที่ 49 หมู่ที่ 5 ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบันนี้
ปี พ.ศ. 2522 ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียนถาวร 3 ชั้น จำนวน 1 หลัง
ปี พ.ศ. 2524 – 2526 ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียนถาวร 5 ชั้น จำนวน 1 หลัง รั้วด้านหน้าโรงเรียน และบ้านพักภารโรง 1 หน่วย 2 ครอบครัว จำนวน 1 หลัง และเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรช่างฝีมือ (ปชม.) เมื่อปีการศึกษา 2526
ปี พ.ศ. 2529 ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียนถาวร 4 ชั้น จำนวน 1 หลังปี พ.ศ. 2534 ได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างบ้านพักครูแบบแฟลต 14 หน่วย 4 ชั้น จำนวน 1 หลัง และกระทรวงศึกษาธิการได้ ประกาศปรับปรุงเปลี่ยนชื่อโรงเรียนสารพัดช่างเชียงใหม่ เป็นวิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2534 เป็นต้นมา
ปี พ.ศ. 2536 วิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่ พิจารณาเห็นว่าสถานที่ทำการของวิทยาลัยที่ถนนห้วยแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีความคับแคบลงทุกขณะ และจังหวัดเชียงใหม่ มีอัตราการเจริญเติบโตของชุมชนเมือง การบริการทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วทำให้ประชาชนมีความต้องการทางด้านการศึกษาเพิ่มมากขึ้น การศึกษาที่จะสนองต่อความต้องการของสังคมเหล่านั้นได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ ก็คือการศึกษาทางด้านวิชาชีพ วิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่ จึงได้มีโครงการที่จะขยายสาขาของวิทยาลัยออกไปที่อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ และเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2536 กรมอาชีวศึกษา ได้พิจารณาอนุมัติในหลักการให้วิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่ ขยายสาขาไปที่อำเภอสารภี โดยกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย ได้อนุญาตให้ใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์ของสภาตำบลหนองผึ้ง (โรงเรียนวัดป่าแคโยง) หมู่ที่ 5 ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เนื้อที่ 4 ไร่ 1 งาน 64 ตารางวา เป็นที่ทำการของวิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่ สาขาสารภี
ปี พ.ศ. 2537 วิทยาลัยได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างบ้านพักภารโรงแบบแฟลต 14 หน่วย 4 ชั้น จำนวน 1 หลัง และอาคารโรงฝึกงาน 3 ชั้น (สาขาสารภี) จำนวน 1 หลัง และเปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เป็นปีแรก
ปี พ.ศ. 2538 – 2539 วิทยาลัยได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียนและปฏิบัติการ 6 ชั้น จำนวน 1 หลัง และอาคารโรงฝึกงาน 3 ชั้น (สาขาสารภี) จำนวน 1 หลัง
ปี พ.ศ. 2548 ได้ทำความร่วมมือกับวัดตอนจั่นเปิดเป็นศูนย์การเรียนรู้อีก ๑ แห่ง วิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่ ศูนย์การเรียนรู้วัดดอนจั่น ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดดอนจั่น ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ๕ (เจ้าอาวาสวัดดอนจั่นซื้อ ท่านเจ้าคุณพระประชานาถมุนี) อนึ่งรายการสิ่งปลูกสร้างที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น บางรายได้ทำการรื้อถอนแล้ว และทำการปลูกสร้างขึ้นมาทดแทนใหม่ ตามที่ได้รับงบประมาณ ทั้งนี้ก็เพื่อความเหมาะสมทางด้านการบริหารงาน และการพัฒนาอาคารสถานที่ ที่มีผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดจนสนองความต้องการของประชาชนที่สนใจเรียนวิชาชีพได้อย่างทั่วถึง
do male enhancement pills shrink your drink size
can i split viagra pills
price of viagra versus cialis
nitroxin male enhancement reviews
progentra male enhancement pills price
male enhancement pills rhino 7
10 panel drug test male enhancement
2024 extenze for my taxes
generic male enhancement pills
golden ant sex pills
what colour is viagra tablet
over the counter male enhancement pills that work fast
regen cbd gummies for sex
extenze extra strength ingredients
6 months off the pill and am now incredibly horny
cialis male enhancement reviews
how to have sex with a pillo
arize male enhancement reviews
extenze 15 soft gelcaps
average erect penis girth
does dhea help male libido
rlx male enhancement supplement
reviews of mass 1 male enhancement pills
what do viagra do for you
does viagra help with performance anxiety
cbd care male enhancement gummies
does extenze plus pills work
male enhancement pills health risks
over the counter ed pills at target
10k platinum male enhancement
best online erectile dysfunction medication
black cobra 20 mg pill male enhancement
5 best male enhancement pills
male sex enhancement capsules
cbd gummies for sex biolyfe
bule pill men sex galleries
best male enhancement pills longer erections
food that help erectile dysfunction
can i split viagra pills
25 mg viagra how long does it last